ห้องสมุดประชาชน อำเภอพิบูลย์รักษ์

แนะนำหนังสือมาใหม่!

 

รหัสบาร์โค้ด 600012  กฤษณาไม้หอม ไม้มหาเศรษฐี

 

วรรณกรรมชิ้นเอกของสหรัฐ

อีเมล พิมพ์ PDF

 

รหัสบาร์โค๊ด 000236

ชื่อหนังสือ วรรณกรรมชิ้นเอกของสหรัฐ

ชื่อผู้แต่ง แม้นมาส  ชวลิต

สำนักพิมพ์ ต้นอ้อ  แกรมมี่

พิมพ์ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2539

จำนวนหน้า 308 หน้า

ราคา 195 บาท

        เนื่องจากหนังสือวรรณกรรมชิ้นเอกของสหรัฐ  มีเนื้อหาเกี่ยวกับ  ผู้ประพันธ์   สาธยายเรื่องนกตะขาบ  วาระสุดท้ายของตระกูลอัชเฌอ ในการคัดเลือกเรื่องสั้นได้ทราบถึงวิวัฒนาการวรรณกรรมสหรัฐประเภทเรื่องสั้นตั้งแต่แรกเริ่มเป็นประเทศจนถึงปัจจุบันบันความดีเด่นของเรื่องสั้น อดีตอาจารย์สอนวรรณคดีภาษาอังกฤษและผู้เชี่ยวชาญด้าน นวนิยายและเรื่องสั้นเพาะมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องสั้นที่จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านที่สนใจวรรณกรรมในเรื่องนี้ในขณะเดียวกันก็ต้องพยายามใช้ภาษาไทยซึ่งคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของภาษาและให้เป็นที่เข้าใจกับสำนวนภาษาไทยระหว่างคริสต์ศักราช  1800 – 1900  ต้องประสบกับภาษาและสำนวน  วิธีคิด  วิธีชีวิตและวิวัฒนาการของสหัรฐ ในช่วงนั้นซึ่งมีความสามารถมากในการสรรหาถ้อยคำ  และแต่งสำนวนสร้างภาพที่แสดงความหดหู่  ขุ่นมัว  สิ้นหวังนั้น  ต้องพากเพียรอย่างมากที่จะแสวงหาคำไทยที่มีความหมายตรงกันสารอเมริกันได้แสดงความจำนงว่าภาษาไทยและภาษาอังกฤษคู่กันหน้าต่อหน้าเพื่อว่าผู้เรียนแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยจะได้ประโยชน์ใช้เป็นตัวอย่างเปรียบเทียบการแปลผู้สนใจเพียงภาษาหนึ่งก็อาจอ่านเฉพาะภาคภาษานั้นๆได้

เกี่ยวกับผู้ประพันธ์

นาเธเนียล  ฮอร์ธอร์น  เป็นนักประพันธ์นวนิยายและเรื่องสั้น  (novelist  และ  shortstory  writer)  เกิดที่เมืองชาเล็ม  รัฐแมสซาชูเสทท์  ในครอบครัวที่เคร่งศาสนาที่อพยพมาจากอังกฤษ  เมื่อเล็กๆ  ชอบอ่างหนังสือ  และชอบคิดชอบฝัน  เขาสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยโบว์เดน  และได้เป็นเพื่อนกับ  ลอง  เฟลโล  กวีเอกชาวอเมริกัน

เขาเริ่มเขียนหนังสือเมื่ออายุ  23  ปี  และเขียวลงในนิตยสารต่างๆเป็นประจำ เรื่องที่เขาเขียนส่วนมากมีลักษณ์อุปมาอุปไมยเปรียบเบรียบและมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับอำนาจเหนือมนุษย์ศีลธรรม  และโดยที่เขาเป็นคนในถิ่นนิวอิงแลนด์  ซึ่งเป็นถิ่นของคนเคร่งศาสนา  เรื่องที่เขาเขียวส่วนมากก็มักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับภาพภูมิประเทศเรื่องราวและบุคคลในท้องถิ่นดังกล่าวเขาเขียนทั้งเรื่องยาว  เรื่องสั้น  และชีวประวัติ  เรื่องยาวที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาได้แก่  “เดอะ  สกาเล็ต  เลทเท่อรส์” และ “เดอะ  เฮาส์  ออฟ  เซเว่นเกเบิ้ลส์”  ส่วนร่วมนิยายเรื่องสั้นที่เป็นที่รุ้จักแพ่รหลายที่สุดที่ทำให้  ฮอว์ธอร์น  ได้ชื่อว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียนเรื่องสั้นก็คือ  ชุด  “แทงเกิล  วูด  เทลล์” และ “ทไวซ์  โทลด์  เทลล์”

เรื่อง  Young  Goodman  Brown  ที่นำมาแปลนี้  ก็เป็นเรื่องหนึ่งในชุดนิยายที่ฮอว์ธอร์นเขียนขึ้น  และนับเป็นเรื่องสั้นที่ดีมากเรื่องหนึ่งของฮอว์ธอร์น  นับเป็นประโยชน์กว้างขวางรวมทั้งอาจารย์  นักเรียน  นักศึกษา  ผู้รักและใส่ใจในงานวรรณกรรมของโลก